บันทึกการเรียน
Science Experiences Management for Early Childhood
ครูผู้สอน คุณครูจินตนา สุขสำราญ
Go to Class 8:10
Out to Class 12:20
กิจกรรมที่ทำ
Knowledge
วันนี้อาจารย์เริ่มต้นชั่วโมงด้วยการให้นักศึกษานำเสนอสื่อวิทยาศาสตร์ ซึ่งสื่อของดิฉัน ชื่อ:ล้อรถจากหลอดด้าย
อุปกรณ์(Equipment)
1.ด้าย(Reel)
2.ยางรัดแกง
3.เทียน(Candle)
4.ก้านธูป(Incense)
วิธีทำ(Complete)
เสร็จแล้วค่ะ ล้อรถจากหลอดด้าย ใช้หลักการวิทยาศาสตร์โดย การออกแรงหมุนก้านธูป เพื่อให้หนังยางบิดเป็นเกลียวและตึงซึ่งจะสะสมในรูปแบบของพลังงานศักย์ และเมื่อปล่อย หนังยางจะคลายตัวทำให้ล้อรถหลอดด้ายเคลื่อนที่ได้กลายเป็นรูปแบบพลังงานจลน์
ชื่อสื่อ : การสมดุล
วิธีเล่น : ต่อเป็นรูปต่างๆ ได้ตามใจชอบ ไม่ใหเล้มหรือพัง
สื่อที่ดิฉันรู้สึกมากๆ และประทับใจ
ชื่อสื่อ :นักดำจากหลอดกาแฟ
วิธีเล่น : เมื่อบีบขวดนักดำน้ำจะจม แต่ถ้าปล่อยนักดำน้ำจะลอยพุ่งขึ้น
ผลงานของเพื่อนๆค่ะ
จากนั้นอาจารย์พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับเรื่องแผนการสอนและสื่อที่ใช้ในการสอน
1.แผนการสอนกลุ่ม ''หน่วยไข่'' แก้ไขแล้วดังรูปค่ะ
กลุ่มของเราได้แบ่งการสอนตามวันดังนี้ค่ะ
วันที่ 1 ชนิดของไข่ (นิตยา ใยคง)
วันที่ 2 ลักษณะของไข่ (ศิริวรรณ แก้วประสิทธิ์)
วันที่ 3 ส่วนประกอบของไข่ (กนกวรรณ เทพดนตรี)
วันที่ 4 ประโยชน์ของไข่ ( จิราภรณ์ นวลโฉม)
วันที่ 5 การเก็บรักษาไข่ (จิราวรรณ จันทร์หนองหว้า)
สื่อที่ใช้ในการสอนเกี่ยวกับ ''หน่วยไข่''
-อาจารย์ให้ไปคิดมา จากนั้นอาจารย์จะแนะนำ ให้สื่อสมบูรณ์ถูกต้องมากยิ่งขึ้น
เทคนิคการสอน
อาจารย์ใช้เทคนิคที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น อาจารย์จะยกตัวอย่างที่ชัดเจนเข้าใจง่าย และใช้สื่อในการสอนที่หลากหลาย
การประเมิน( Evaluate )
การประเมินตนเอง
วันนี้แต่งกายเรียบร้อย ร่วมสนทนาตอบโต้กับอาจารย์ในเชิงวิชาการ สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง
การประเมินเพื่อน
วันนี้เพื่อนๆ ส่วนใหญ่ตั้งทำสื่อมากๆ และสามารถตอบคำถามของอาจารย์ได้
การประเมินอาจารย์
วันนี้อาจารย์แนะนำเรื่องสื่อ และการเขียนแผนการสอน
เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วม
การนำไปประโยชน์ใช้
นำสื่อแบบต่างๆ ที่เพื่อนนำเสนอไปประยุกต์ใช้หรือปรับปรุงให้เหมาะสมกับหน่วยที่จะสอน
สิ่งที่ต้องศึกษาเพิ่ม
-การเขียนแผน
-การทำสื่อการสอนในหน่วยไข่
-ทำไม หลอดด้าย ถึงหมุนได้
หมายเหตุ
-เพื่อนบางส่วนลืมนำสื่อวิทยาศาสตร์มาส่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น